วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557


บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557 
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อ.ตฤณ แจ่มถิน เวลาเรียน 12:20- 15:00 น. ห้อง234


สรุปได้ดังนี้



เนื้อหาเพิ่มเติม
           ความบกพร่องทางร่างกาย (Physical impairments) โดยทั่วไปแล้วครอบคลุมลักษณะของความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (Motor functioning impairments) ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ ตัวอย่างของความบกพร่องทางร่างกาย ได้แก่ โรคสมองพิการ (Cerebral palsy) โรคลมชัก (Epilepsy) และโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ในเด็ก (Juvenile rheumatoid arthritis) เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายอาจมีหรือไม่มีความจำเป็นต้องได้รับการศึกษาพิเศษ (Special education) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของปัญหา
           เมื่อบุคคลไม่สามารถเปล่งเสียงพูดได้อย่างถูกต้อง ไม่สามารถพูดได้อย่างราบรื่น หรือมีปัญหาเกี่ยวกับเสียงของตนเอง ถือว่าบุคคลนั้นมีความบกพร่องทางการพูด (Speech Impairment) ซึ่งครอบคลุมลักษณะตั้งแต่ปัญหาความยากลำบากในการออกเสียง หรือความผิดปกติในการออกเสียง (Articulation Disorders) รวมถึงการพูดติดต่าง (Stuttering) ในขณะเดียวกัน เมื่อบุคคลมีปัญหาในการรับรู้และเข้าใจภาษา (Receptive language) หรือมีทักษะในการใช้ภาษาบกพร่อง (Expressive language) ถือว่าบุคคลนั้นมีความบกพร่องทางภาษา (Language Impairment)


การนำไปประยุกต์ใช้
           เพื่อเป็นการพัฒนาสื่อการเรียนรู้และทำความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น 


ประเมินการเรียนการสอน

ตนเอง       มีการโต้ตอบกับอาจารย์ ตั้งใจฟัง ปรึกษาเพื่อนบ้างเล็กน้อย
เพื่อน         มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ให้คำปรึกษา
อาจารย์     สอนเข้าใจง่ายและ มีการยกตัวอย่างในการสอน มีสไลด์ให้ดูไม่น่าเบื่อ

วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557


บันทึกอนุทินครั้งที่ 5
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557 
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อ.ตฤณ แจ่มถิน
เวลาเรียน 12:20- 15:00 น. ห้อง234


สรุปเนื้อหาที่เรียนวันนี้
        การแบ่งกลุ่มประเภทของเด็กพิเศษ



การนำไปประยุกต์ใช้
           ทำให้ได้รับความรู้เพิ่มเติมมากขึ้นเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ  สามารถนำไปพัฒนาแผนการสอนให้เหมาะสมกับตัวของเด็ก ๆ


ประเมินการเรียนการสอน

ตนเอง        มีปรึกษาเพื่อนบ้าง และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
เพื่อน          มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
อาจารย์      สอนเข้าใจง่ายและ มีการยกตัวอย่างในการสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4
วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2557 
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อ.ตฤณ แจ่มถิน
เวลาเรียน 12:20- 15:00 น. ห้อง234


วันนี้มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียนในแต่ละหัวข้อ ซึ่งมีหัวข้อดังนี้
เด็กซีพีCerebral Palsy 
เด็กแอลดีID : learning disability 
เด็กดาวน์ซินโดรมDownsyndrome 
เด็กสมาธิสั้นAttention Deficit Hyperactivity Disorder ADHD 
เด็กปัญญาเลิศGifted child 
เด็กออทิสติกAutistic 
เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ Children With Behavioral and Emotional Disorders 

สรุปได้ดังนี้




เนื้อหาเพิ่มเติม
       เด็กซีพีCerebral Palsy 
       เด็กแอลดีID : learning disability 
       เด็กดาวน์ซินโดรมDownsyndrome 
       เด็กสมาธิสั้นAttention Deficit Hyperactivity Disorder ADHD 
       เด็กปัญญาเลิศGifted child 
       เด็กออทิสติกAutistic 
       เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ Children With Behavioral and Emotional Disorders 

การนำไปประยุกต์ใช้
       เพื่อพัฒนาแผนการสอนให้เข้ากับเด็กแต่ละประเภทเพื่อการพัฒนาไปในทางที่ดีของเด็กแต่ละคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของเด็กให้ดีขึ้น


ประเมินการเรียนการสอน
ตนเอง   เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย สนใจและตั้งใจกับการเรียนการสอน
เพื่อน     เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน เพื่อนมีการแสดงคิดเห็นตอบสนองกับการเรียน
อาจารย์  อาจารย์ใช้สอนโดยการบรรยาย พร้อมกับเล่นบทบาทสมมติ การเล่าประสบการณ์ต่างๆ มีการ                    ใช้วิดีโอประกอบการสอน และมีการใช้น้ำเสียงที่น่าสนใจ


บันทึกอนุทินครั้งที่ 3
วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557 
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อ.ตฤณ แจ่มถิน
เวลาเรียน 12:20- 15:00 น. ห้อง234


(วันนี้อาจารย์ให้เข้าร่วมกิจกรรมงานวิชาการของคณะศึกศาสตร์)(จึงไม่ได้มีเนื้อหาสรุปคะ)




การประเมิน
ตนเอง    แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย เข้าร่วมกิจกรรมของสาขานำความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวัน
เพื่อน      แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าร่วมกิจกรรมของสาขา ให้ความร่วมมือกับคณะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2
วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2557
 วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อ.ตฤณ แจ่มถิน
เวลาเรียน 12:20- 15:00 น. ห้อง234

ความรู้ที่ได้รับ
         เรื่องเด็กพิเศษ

เนื้อหาเพิ่มเติม
           เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with Special Needs) หมายถึง ผู้ที่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือเนื่องด้วยการขาดความสามารถ (Disability) ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย จิตใจ หรือสติปัญญา ซึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา ความต้อง การพิเศษ (Special Needs) เป็นศัพท์ที่บัญญัติขึ้นเพื่อใช้ในการวินิจฉัยอาการทางคลินิก (Clinical diagnostic) และพัฒนาการทาง ด้านสมรรถภาพของร่ายกาย (Functional development) นอกจากนี้ ในประเทศอังกฤษ ความต้องการพิเศษมักเชื่อมโยงกับแวดวงการศึกษา โดยหมายถึงเด็กที่มีความต้องการพิเศษทางด้านการศึกษา (Special Educational Needs:SEN)


การนำไปประยุกต์ใช้
  1. เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  2. เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการดูแล
  3. เพื่อนนำไปเป็นข้อมูลในการศึกษา
การประเมินการเรียนการสอน
ตนเอง       มีปรึกษาเพื่อนบ้าง คุยกันนอกเรื่องบ้าง และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
เพื่อน        คุยกันเสียงดังนิดหน่อย และ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
อาจารย์    สอนเข้าใจง่ายและ มีการยกตัวอย่างในการสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1
วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2557 
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อ.ตฤณ แจ่มถิน
เวลาเรียน 12:20- 15:00 น. ห้อง234



           วันนี้เป็นการเรียนครั้งแรก อาจารย์ ให้ทำมายแม็บเกี่ยวกับเด็กพิเศษ สิ่งที่เราคิดว่าเป็นเด็กพิเศษ โดยให้ทำเป็นกลุ่มค่ะ


อันนี้ของกลุ่มดิฉันคะ 








ความรู้ที่ได้รับ
         อาจารย์แจก (Course Syllabus) ให้กับนิสิต และอธิบายแนวทางการสอนของเทอมนี้ว่ามีเรียนอะไรบ้าง และพูดข้อตกลงในชั้นเรียน และการบันทึกอนุทินเป็น mind mapping โดยใช้โปรแกรม


เนื้อหาเพิ่มเติม
         เด็กพิเศษ มาจากคำเต็มว่า “เด็กที่มีความต้องการพิเศษ” หมายถึงเด็กกลุ่มที่จำเป็นต้องได้รับการดูแล ช่วยเหลือเป็นพิเศษ เพิ่มเติมจากวิธีการตามปกติ ทั้งในด้าน การใช้ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ และการเข้าสังคม เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพของเขาเอง โดยออกแบบการดูแล ช่วยเหลือเด็ก ตามลักษณะความจำเป็น และความต้องการของเด็กแต่ละคน

การนำไปประยุกต์ใช้
          สามารถนำไปเพิ่มพูนความรู้ เพื่อใช้ในการปรับตัวให้เข้ากับการสอนในโอกาศต่างๆ

การประเมินการเรียนการสอน
ตัวเอง        ตั้งใจเรียนดี  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
เพื่อน         มีการให้ความร่วมกันภายในกลุ่มที่ดี ตั้งใจเรียน
อาจารย์     เตรียมเนื้อหามาสอนได้น่าสนใจ  แต่งกายเรียบร้อย